ค่อย ๆ หายไป คือ
- ค่อยๆ จางไป
ค่อย ๆ
ค่อย ๆ สลายไป
ค่อย ๆ สูญหายไป
จางหายไป
- ค: พยัญชนะตัวที่ ๔ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น โรค มรรค มารค เทคนิค.
- ค่อ: ( ถิ่น-อีสาน ) น. ปลาช่อน. ( ดู ช่อน ).
- ค่อย: ๑ ว. ใช้ประกอบหลังนามหรือกริยา หมายความว่า ไม่ดัง, เบา, เช่น เสียงค่อย พูดค่อยเดินค่อย ๆ อย่าลงส้น; ไม่แรง, เบามือ, เช่น นวดค่อย ๆ จับค่อย ๆ. ๒
- ค่อย ๆ: ว. ใช้นำหน้ากริยาหมายความว่า ไม่รีบร้อน, อย่างระมัดระวัง, ช้า ๆ, เช่น ค่อยคิดค่อยทำ ค่อย ๆ เดิน. ๑ ว. ใช้ประกอบหลังนามหรือกริยา หมายความว่า
- อ: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๓ เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะตัวต้นได้อย่างตัวอื่น ๆ เช่น อา อก องค์, ใช้นำพยัญชนะเดี่ยวได้อย่างอักษรกลางอื่น ๆ เช่น อนึ่ง
- อย: อะยะ-, อะยัด น. เหล็ก. ( ป. อย; ส. อยสฺ).
- ย: พยัญชนะตัวที่ ๓๔ เป็นพวกอักษรต่ำ เป็นได้ทั้งตัวต้นและตัวสะกดในแม่เกย.
- ห: พยัญชนะตัวที่ ๔๑ อยู่ในพวกอักษรสูง เช่น หา เห็นใช้นำอักษรต่ำที่เป็นอักษรเดี่ยวให้มีเสียงสูงและไม่ออกเสียงตัว ห เช่น หงอย หนา.
- หา: ๑ ก. มุ่งพบ, พบ, เช่น ไปหาหมอ เพื่อนมาหา; เยี่ยม, เยี่ยมเยียน, เช่น เพิ่งทราบว่าครูกำลังป่วย ต้องไปหาท่านเสียหน่อย; ฟ้อง, กล่าวโทษ, เช่น
- หาย: ก. สูญ, หาไม่พบ, ไม่ปรากฏ, หมด, สิ้น, พ้นจากการเจ็บป่วย.
- หายไป: สูญหาย หาย อันตรธาน ยุติ เลิก ล้มหายตายจากไป หมดไป ไม่เห็นอีกต่อไป มลายไป จากไป ลับ ลาลับ เลือนลับ จางไป เลือนไปทีละน้อย ลบเลือน เลือน ไม่ปรากฏตัว
- ไป: ก. เคลื่อนออกจากที่, ใช้ตรงกันข้ามกับ มา, เป็นคำประกอบท้ายกริยาหมายความว่า เรื่อยไป, ไม่หยุด, เช่น ทำไป กินไป,
- ป: พยัญชนะตัวที่ ๒๗ เป็นพวกอักษรกลาง เป็นตัวสะกดในแม่กบในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น บาป เนปจูน, ตัว ป